ข้อสอบ คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม

ข้อสอบ คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 90 หรือ 18 ข้อขึ้นไป

GEN1012 ข้อสอบ คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม

หน้านี้แสดงครั้งละ 20 ข้อบนเครื่องพิวเตอร์ทั่วไป
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
1. สาโรธ บังศรี จำแนกค่านิยม ออกเป็น 2 ประเภท คือข้อใด?
    ค่านิยมพื้นฐาน,ค่านิยมทางศาสนา
    ค่านิยมพื้นฐาน,ค่านิยมทางความจริง
    ค่านิยมทางพื้นฐาน, ค่านิยมทางสังคม
    ค่านิยมพื้นฐาน,ค่านิยมวิชาชีพ
2. ค่านิยม ยอมรับเรื่องบุญวาสนา กรรมเก่า เชื่อถือโชคลาภ เป็นค่านิยมสังคมไทยในข้อใด?
    สังคมชั้นกลาง
    สังคมชั้นสูง
    สังคมชนบท
    สังคมเมือง
3. ความรู้ หรือความรู้สึกต่อพฤติกรรมต่างๆ ในทางที่ชอบ หรือไม่ชอบ เรียกว่าอะไร?
    ความรู้เชิงจริยธรรม
    เจตคติเชิงจริยธรรม
    เหตุผลเชิงจริยธรรม
    พฤติกรรมเชิงจริยธรรม
4. ผลดีของการมีสติหมายถึง ข้อใด?
    รู้ว่าใครจะทำอะไร
    รู้เหตุการณ์ล่วงหน้า
    รู้ว่าตนเองกำลังทำอะไร
    รู้อดีตชาติของตนเอง
5. คุณธรรมข้อใดไม่จัดอยู่ตามแนวคิด อริสโตเติล?
    ความรอบคอบ
    การรู้จักประมาณ
    การอดทน
    ความยุติธรรม
6. Moral values หมายถึงข้อใด?
    ค่านิยมทางศาสนา
    ค่านิยมทางวัตถุ
    ค่านิยมทางสุนทรียภาพ
    ค่านิยมทางความจริง
7. ข้อใดไม่เป็นค่านิยมพื้นฐานที่สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ประกาศ?
    การพึ่งตนเอง
    การรักษาความสัตย์
    การประหยัด และออม
    การปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา
8. วัยใดสามารถตัดสินใจด้วยตนเองว่าสิ่งใดควรกระทำหรือไม่ควรกระทำ ตามทฤษฏีการพัฒนา ทางจริยธรรม?
    อายุ 0-2 ปี
    อายุ 2-8 ปี
    อายุ 8 ปีขึ้นไป
    อายุ 12 ปีขึ้นไป
9. หลักธรรมที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน คือ ?
    พรหมวิหาร 4
    อิทธิบาท 4
    สังคหวัตถุ 4
    ฆราวาสธรรม 4
10. ค่านิยมของสังคมเมืองมีลักษณะใด?
    เชื่อถือโชคลาง
    เห็นแก่ตัวไม่เชื่อใจใคร
    พึ่งพาอาศัยกัน
    เป็นส่วนตัวมากเกินไป
11. อคติ 4 คือ คุณธรรมข้อใด?
    ธรรมที่ควรรักษาไว้เป็นนิจ
    ธรรมของผู้ครองเรือน
    ธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจคน
    ธรรมที่ไม่ควรประพฤติ
12. ครูวิภาให้การดูแลเพื่อนร่วมงานเป็นอย่างดี แสดงว่าปฏิบัติตามหลักธรรมข้อใด?
    ปุริสถิมทิส
    อุตตรทิส
    อุปริมทิส
    ปัจฉิมทิส
13. ขั้นการให้เหตุผลเชิงพฤติกรรมของ Kohlberg ระดับตามเกณฑ์สังคม อายุ 10-13 ปีตรงกับข้อใด?
    การหลบหลีกการลงโทษ
    การแสวงหารางวัล
    การทำตามสิ่งที่ผู้อื่นเห็นชอบ
    การทำตามคำมั่นสัญญา
14. ค่านิยมที่เกี่ยวข้องกับความสมบรูณ์ของชีวิตและความศรัทธา?
    ค่านิยมทางจริยธรรม
    ค่านิยมทางสังคม
    ค่านิยมทางศาสนา
    ค่านิยมทางวัตถุ
15. ขั้นการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของ Kohlbergขั้นที่ 6 หมายถึงข้อใด?
    การยึดถืออุดมคติสากลหรือจริยธรรมสากล(วัยผู้ใหญ่)
    การทำหน้าที่ทางสังคมหรือระบบสังคมและมโนธรรม
    การทำตามคำสัญญาและสิทธิ
    การแสวงหารางวัลหรือการตอบสนองตามความต้องการ
16. การซื้อของใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน หมายถึงข้อใด?
    ความนิยมทางความจริง
    ค่านิยมทางวัตถุ
    ค่านิยมทางสังคม
    ค่านิยมทางพื้นฐาน
17. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ เป็นความหมายของข้อใด?
    คุณธรรม
    จริยธรรม
    วัฒนธรรม
    ศีลธรรม
18. สมานัตตา อยู่ในหลักธรรมข้อใด?
    อิทธิบาท 4
    พรหมวิหาร 4
    สังคหวัตถุ 4
    ฆราวาสธรรม 4
19. คุณธรรมที่ทำให้ประสบความสำเร็จ หมายถึง ข้อใด?
    พรหมวิหาร 4
    สังคหวัตถุ 4
    ธรรมของฆราวาส 4
    อิทธิบาท 4
20. ความรู้จริยธรรม หมายถึงข้อใด?
    การมีความรู้สึกต่อพฤติกรรมต่างๆ
    การแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ต่อสังคม
    ความรู้เกี่ยวกับสังคมสามรถบอกได้ว่า การกระทำใดดี การกระทำใดไม่ดีเหมาะสมมากน้อยเพียงใด
    เหตุผลที่ใช้เป็นเกณฑ์ใสการเลือกหรือไม่เลือกกระทำ
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
แนะนำชุดข้อสอบ

1. แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1


2. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กีฬาแบดมินตัน


3. แบบทดสอบวิชาบาสเก็ตบอล


4. ข้อสอบ บรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอก ปฐมวัย พร้อมเฉลย 50 ข้อ


นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ


EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS