วิชาระบบการจัดการฐานข้อมูล 30204-2002
หน้าแรก
คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 50 หรือ 25 ข้อขึ้นไป
กรอกชื่อจริง
กรอกนามสกุล
แบบทดสอบนี้ มีจำนวนข้อสอบ 40 ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อ ให้เลือก เพิ่มจำนวนข้อเป็น 20 ข้อ 30 ข้อ 50 ข้อ
1. ขั้นตอนแรกของการออกแบบฐานข้อมูลคือข้อใด
    การรวบรวมและวิเคราะห์ความต้องการใช้ข้อมูล
    การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ
    การเลือกระบบจัดการฐานข้อมูล
    การออกแบบฐานข้อมูลในระดับแนวคิด
2. การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลหมายถึงข้อใด
    การป้องกันการปรับปรุง แก้ไข หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล
    การรักษาความคงสภาพของข้อมูล
    การป้องกันข้อมูลจากผู้ที่ไม่มีสิทธิ์ในการใช้งานฐานข้อมูล
    การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่เกิดจากรายการเปลี่ยนแปลง
3. สารสนเทศ (Information) หมายถึงข้อใด
    ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง
    ข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจ
    ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล
    ข้อมูลที่ถูกต้อง
4. วิธีการป้องกันรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลคือข้อใด
    การรักษาความคงสภาพของข้อมูล
    การกำหนดกฎการใช้และควบคุมข้อมูล
    การล็อก
    การกำหนดสิทธิ์
5. ภาษา SQL ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัทใด
    ANSI
    ISO
    IBM
    Microsoft
6. รีเลชัน หมายถึงข้อใด
    คีย์หลักที่มีข้อมูลไม่ซ้ำกัน เป็นค่าเอกลักษณ์
    ตาราง 2 มิติ
    ค่าที่ให้แก่แอททริบิวต์ในกรณีที่ยังไม่พร้อมที่จะใส่ข้อมูล
    ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
7. ข้อใดเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล
    จัดการ ควบคุมดูแลการสร้าง และเรียกใช้ข้อมูล
    ควบคุมการทำงานของระบบปฏิบัติการ
    ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
    ควบคุมการแสดงผลข้อมูล
8. ข้อมูลในฐานข้อมูลควรมีลักษณะตามข้อใด
    เป็นสารสนเทศ
    เป็นแฟ้มข้อมูล
    เก็บข้อมูลได้มาก
    ลดความซ้ำซ้อนและผู้ใช้หลายคนสามารถเรียกใช้ข้อมูลร่วมกันได้
9. ความคงสภาพของฐานข้อมูลหมายถึงข้อใด
    การควบคุมให้ความสัมพันธ์ของรีเลชันเป็นไปตามกฎความคงสภาพ
    การควบคุมให้ข้อมูลในฐานข้อมูลมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ
    กฎความคงสภาพของเอนทิตี และการอ้างอิง
    การควบคุมข้อมูลที่เป็นคีย์หลักที่ของรีเลชันให้มีข้อมูลที่ไม่ซ้ำกัน
10. ขั้นตอนแรกของการออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้แบบจำลอง E?R คือข้อใด
    กำหนดแอททริบิวต์ของแต่ละเอนทิตี
    กำหนดคีย์หลักและคีย์สำรองของแต่ละเอนทิตี
    กำหนดเอนทิตีในฐานข้อมูล
    กำหนดประเภทของความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี
11. วัตถุ (Object) ที่เป็นส่วนที่ใช้แสดงผลข้อมูลในฐานข้อมูลคือข้อใด
    เพจ
    มาโคร
    ฟอร์ม
    รายงาน
12. ข้อมูลประเภทเงินตรา ควรกำหนดชนิดของข้อมูลเป็นชนิดใด
    Currency
    OLE Object
    Text
    Number
13. ข้อเสียของการใช้ฐานข้อมูลคือข้อใด
    ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล
    ความเป็นอิสระของข้อมูลและโปรแกรม
    มีความซับซ้อน
14. ขั้นตอนสุดท้ายของการออกแบบฐานข้อมูลคือข้อใด
    การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ
    การนำฐานข้อมูลไปใช้และประเมินผล
    การนำฐานข้อมูลที่ออกแบบในระดับแนวคิดให้เข้าสู่ระบบจัดการฐานข้อมูลที่เลือก
    การเลือกระบบจัดการฐานข้อมูล
15. ข้อใดเป็นข้อดีของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
    สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
    เข้าใจง่าย
    มีพอยท์เตอร์ในการเชื่อมโยงข้อมูล
    ทำให้การออกแบบฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพมากขึ้น
16. อายุ ควรกำหนดประเภทของข้อมูล Number เป็นประเภทใด
    Single
    Decimal
    Byte
    Integer
17. ข้อใดเป็นคุณสมบัติของรายการเปลี่ยนแปลง
    มีความสัมพันธ์กัน
    ไม่มีค่าว่าง (Null Value)
    การเป็นงานเดียว
    ทำให้มีการปรับปรุงฐานข้อมูล
18. ระบบฐานข้อมูลแบบกระจายหมายถึงข้อใด
    การกระจายการจัดเก็บข้อมูลและระบบการจัดการข้อมูลในเครื่องต่าง ๆ
    การกระจายระบบจัดการฐานข้อมูลในเครื่องต่าง ๆ เพื่อเรียกใช้ฐานข้อมูลเดียวกัน
    ฐานข้อมูลที่กระจายการจัดเก็บข้อมูลและประมวลผลไปตามเครื่องต่าง ๆ ในแหล่งต่าง ๆ
    ฐานข้อมูลที่กระจายการจัดเก็บโครงสร้างข้อมูล ข้อมูล และความสัมพันธ์ไปตามเครื่องต่าง ๆ ใน
19. องค์ประกอบของฐานข้อมูลคือข้อใด
    ข้อมูล การประมวลผล สารสนเทศ
    ข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล
    ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร
    ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล บุคลากร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
20. ข้อใดคือความสำคัญของการสำรองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล
    การรักษาความคงสภาพของข้อมูล
    การป้องกันรายการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล
    การป้องกันและรักษาความสัมพันธ์
    การป้องกันการหยุดชะงักของระบบ
21. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ หมายถึงข้อใด
    การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
    การนำข้อมูลในฐานข้อมูลมาแปลงให้เป็นรีเลชัน
    การรวมรีเลชันที่มีความสัมพันธ์กันไว้ด้วยกัน
    ความสัมพันธ์ของตาราง 2 มิติ
22. ข้อใดคือองค์ประกอบในการเลือกใช้ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย
    การกระจายของข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
    ความเหมือนและความแตกต่างกันของระบบจัดการฐานข้อมูลที่อยู่ในแต่ละเครื่อง
    มุมมองของผู้ใช้
    ความต้องการของผู้ใช้
23. การจัดระบบข้อมูลในรูปแบบบรรทัดฐานหมายถึงข้อใด
    การจัดกระทำข้อมูลเพื่อสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
    การแยกตาราง เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    กระบวนการจัดระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
    การสร้างเค้าร่างของข้อมูลเชิงสัมพันธ์
24. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของแบบจำลอง E?R
    เอนทิตี แอททริบิวต์ ความสัมพันธ์
    แฟ้มข้อมูล โครงสร้างข้อมูล สื่อที่ใช้เก็บข้อมูล
    ข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล
    ส่วนโครงสร้างข้อมูล ส่วนจัดการข้อมูล ส่วนควบคุมความคงสภาพของข้อมูล
25. จุดประสงค์ในการออกแบบฐานข้อมูลคือข้อใด
    สร้างความเชื่อถือได้ให้กับข้อมูล
    สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานได้อย่างถูกต้อง
    สร้างประสิทธิภาพในการใช้ฐานข้อมูล
    ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
26. การล็อกทำให้เกิดปัญหาใด
    ล็อกผิดประเภท
    ความขัดแย้งของข้อมูล
    ล็อกค้าง
    ล็อกผิดระดับ
27. ข้อใดคือกฎเกณฑ์การตั้งชื่อฟิลด์
    ในตารางเดียวกัน ชื่อฟิลด์ต้องไม่ซ้ำกัน
    ตัวแรกของชื่อเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร ช่องว่าง และสัญลักษณ์ต่าง ๆ
    มีความยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร
    ใช้ได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร ช่องว่าง และสัญลักษณ์ต่าง ๆ
28. วิธีที่นิยมใช้ในการควบคุมภาวะการเข้าถึงข้อมูลพร้อมกันคือวิธีใด
    การค้นหาข้อมูล (Searching)
    การปรับปรุงข้อมูล (Updating)
    การจัดเรียงลำดับ (Sorting)
    การล็อก (Locking)
29. วัตถุ (Object) ที่เป็นคำสั่งที่ช่วยให้โปรแกรมทำงานอย่างอัตโนมัติได้คือข้อใด
    เพจ
    มาโคร
    ตาราง
    ฟอร์ม
30. ข้อใดคือประโยชน์ของฐานข้อมูล
    จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของแฟ้มข้อมูล
    ใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลในการควบคุมข้อมูล
    สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
    สามารถควบคุมการประมวลผลข้อมูลได้
31. ระบบฐานข้อมูลแบบรวม หมายถึงข้อใด
    ฐานข้อมูลที่มีระบบจัดการฐานข้อมูลแบบรวม
    ฐานข้อมูลที่รวมโครงสร้างข้อมูล ข้อมูล และความสัมพันธ์ของข้อมูลไว้ด้วยกัน
    ฐานข้อมูลที่รวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และพีเพิลแวร์ไว้ด้วยกัน
    ฐานข้อมูลที่รวมทั้งข้อมูลและระบบจัดการฐานข้อมูลไว้ในฮาร์ดแวร์เดียวกัน
32. การเข้าสู่โปรแกรมประยุกต์ฐานข้อมูลคือข้อใด
    Start > Microsoft Excel
    Start > Microsoft Office > Microsoft Excel
    Start > Microsoft Access
    Start > Microsoft Office > Microsoft Access
33. โปรแกรมประยุกต์ฐานข้อมูลหมายถึงข้อใด
    Microsoft Excel
    Microsoft Access
    Microsoft Office
    Microsoft Word
34. วัตถุ (Object) ที่เป็นส่วนที่เก็บโครงสร้างของฐานข้อมูลคือข้อใด
    ฟอร์ม
    รายงาน
    ตาราง
    แบบสอบถาม
35. ใครเป็นผู้ตัดสินใจในการกำหนดรูปแบบของฐานข้อมูลแบบกระจาย
    ผู้บริหารฐานข้อมูล
    นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ
    ผู้ใช้
    นักเขียนโปรแกรม
36. ข้อมูลที่เป็นรูปภาพ เสียง ควรกำหนดชนิดข้อมูลเป็นชนิดใด
    Hyperlink
    Lookup Wizard
    Memo
    OLE Object
37. การสร้างฐานข้อมูลเปล่าสิ่งแรกที่ต้องกำหนดคือข้อใด
    ขนาดของเขตข้อมูล
    ชื่อแฟ้มฐานข้อมูล
    ชื่อเขตข้อมูล
    ชนิดของข้อมูล
38. รีเลชันมีกี่ประเภทและมีองค์ประกอบตามข้อใด
    2 ประเภท รีเลชันหลัก และวิว
    3 ประเภท รีเลชันหลัก รีเลชันสำรอง และรีเลชันร่วม
    3 ประเภท รีเลชัน แอททริบิวต์ และเอนทิตี
    2 ประเภท คอลัมน์ และแถว
39. ระบบฐานข้อมูลเริ่มต้นจากโครงการใด
    โครงการอพอลโล
    โครงการทางทหารของสหรัฐอเมริกา
    โครงการนาซ่า
    โครงการอินเทอร์เน็ต
40. รีเลชัน (Relation) หมายถึงข้อใด
    ความสัมพันธ์ของข้อมูลในรูปแบบตาราง 2 มิติ
    ค่าของข้อมูลในแต่ละระเบียนข้อมูล
    ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี
    รายละเอียดของข้อมูลในเอนทิตี
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
แนะนำชุดข้อสอบ

1. แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1


2. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กีฬาแบดมินตัน


3. แบบทดสอบวิชาบาสเก็ตบอล


4. ข้อสอบ บรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอก ปฐมวัย พร้อมเฉลย 50 ข้อ


หน้าแรก

EDUCATION RESEARCH | Test Home
Version Thaitestonline.com | Mobile
เพื่อนบ้านเว็บครูออฟ