ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย เคมี(2545) ชุดที่1
หน้าแรก
คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 70 หรือ 35 ข้อขึ้นไป
กรอกชื่อจริง
กรอกนามสกุล
แบบทดสอบนี้ มีจำนวนข้อสอบ 20 ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อ ให้เลือก เพิ่มจำนวนข้อเป็น 20 ข้อ 30 ข้อ 50 ข้อ
1. พิจารณาสมดุลของปฏิกิริยา A(aq) + B(aq)?⇌ C(aq) นำ A 1 mol และ B 2.5 mol ละลายในน้ำแล้วทำให้ปริมาตรของสารละลายเป็น 0.5 dm3 เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่ภาวะสมดุล พบว่าความเข้มข้นของ A เท่ากับ 1 mol dm-3 ถ้าทดลองใหม่โดยเริ่มจากการละลาย C 0.5 โมล ในน้ำแล้วทำให้ปริมาตรสารละลายเป็น 0.25 dm3 เมื่อระบบเข้าสู่ภาวะสมดุล C มีความเข้มข้นกี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร
    0.54
    0.59
    1.41
    1.46
2. พิจารณาปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้?? aHNO3(aq) + bCu(s)?→ cCu(NO3)2(aq) + dNO(g) + eH2O(I)a, b, c, d และ e มีค่าเท่าใด
    a = 4, b = 2, c = 2, d = 1, e = 2
    a = 6, b = 2, c = 2, d = 2, e =3
    a = 8, b = 3, c = 3, d = 2, e =4
    a = 12, b = 3, c = 3, d = 2, e =6
3. แก๊สผสมประกอบด้วย N2 และ CO2 หนัก 12.8 g บรรจุในภาชนะขนาด 2 dm3 เมื่อผ่านแก๊สผสมนี้ลงในสารละลาย NaOH ปรากฏว่าสารละลาย NaOH มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 4.4 g แก๊สผสมนี้ประกอบด้วย N2 ร้อยละเท่าใดโดยปริมาตร (แนะนำ : NaOH สามารถทำปฏิกิริยากับ CO2 เกิดผลิตภัณฑ์ Na2CO3)
    25
    34
    65
    75
4. ในการศึกษาอัตราของปฏิกิริยา 2A + 3B?→ C ได้ข้อมูลดังตารางเวลานาที[A]mol dm-3[B]mol dm-3[C]mol dm-302461075420x1x2x30y1y2y3ข้อใดถูก
    อัตราการเกิดสาร C > อัตราการสลายตัวของสาร A > อัตราการสลายตัวของสาร B
    x1 = 15, x2 = 13, x3 = 12
    อัตราการสลายตัวของ A ในช่วงเวลา 0-2 นาที มีค่าเป็น 3 เท่าของอัตราการเกิด C ในช่วงเวลา 2 ? 4 นาที
    y1 = 3, y2 = 5, y3 = 6
5. กำหนดให้E0, VA2+(aq) + 2e- → A(s)B+(aq) + e- → B(s)C3+(aq) + 3e- → C(s)D2+(aq) + 2e- → D(s)-2.70-1.70+1.50+1.75พิจารณาแผนภาพเซลล์ต่อไปนี้?? เซลล์ที่ 1 A(s) / A2+(aq) // B+(aq) / B(s) ?? เซลล์ที่ 2 C(s) / C3+(aq) // B+(aq) / B(s) ?? เซลล์ที่ 3 D(s) / D2+(aq) // C3+(aq) / C(s) ?? เซลล์ที่ 4 A(s) / A2+(aq) // D2+(aq) / D(s) เซลล์ใดจะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากแอโนดไปยังแคโทด
    เซลล์ที่ 1 และเซลล์ที่ 2
    เซลล์ที่ 2 และเซลล์ที่ 3
    เซลล์ที่ 3 และเซลล์ที่ 4
    เซลล์ที่ 1 และเซลล์ที่ 4
6. ฟรีออน-12 (CCl2F2) เป็นแก๊สที่ใช้เป็นสารทำความเย็นในตู้เย็น ซึ่งเตรียมจากปฏิกิริยาต่อไปนี้?? CCl4 + SbF3?→ CCl2F2 + SbCl3 (สมการยังไม่ดุล)ถ้า CCl4 154 g ทำปฏิกิริยากับ SbF3 107.4 g จะเกิดฟรีออน-12 กี่กรัม
    73
    109
    121
    218
7. แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 3.20 g มีปริมาตร 2.00 dm3 ที่อุณหภูมิ 27°C ความดัน 0.5 atm แก๊สนี้มีมวลโมเลกุลเท่าใด
    22.4
    39.4
    78.8
    157.6
8. การศึกษาปฏิกิริยาการสลายตัวของน้ำโดยใช้ไฟฟ้า ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้?? 2H2O(I)?→ 2H2(g) + O2(g)เนื่องจากน้ำเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ไม่ดีจึงจำเป็นต้องเติมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ลงไป ถ้ามีอิเล็กโทรไลต์ 4 ชนิด คือ Na2SO4, Na2S2O3, Na2S, NaI ควรเลือกใช้อิเล็กโทรไลต์ตัวใดจึงจะเหมาะสมข้อใดถูก
    Na2SO4 เนื่องจาก SO42- ให้อิเล็กตรอนยากที่สุด
    Na2S2O3 เนื่องจาก S2O32- ถูกออกซิไดซ์ง่ายและให้ไอออนที่ช่วยนำไฟฟ้าได้
    Na2S เนื่องจาก S2- ถูกออกซิไดซ์ง่าย ให้กำมะถันซึ่งสามารถแยกออกได้ง่าย
    NaI เนื่องจาก I- เสียอิเล็กตรอนง่ายจึงช่วยให้อิเล็กโทรลิซิสเกิดง่ายขึ้น
9. ณ อุณหภูมิหนึ่งปฏิกิริยา 2SO2(g) + O2(g)?⇌ 2SO2(g) มีค่าคงที่สมดุลเท่ากับ 100 ถ้าความเข้มข้นของช่อง SO2 และ SO3 ที่ภาวะสมดุลนี้มีค่าเท่ากัน ความเข้มข้นของ O2 ที่ภาวะสมดุลมีค่ากี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร
    0.001
    0.005
    0.01
    0.02
10. ณ อุณหภูมิหนึ่ง A สลายตัวให้ B ร้อยละ 90 โดยน้ำหนัก ใช้เวลา 40 นาที เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10°C อัตราการสลายตัวจะเพิ่มขึ้น 2 เท่า ถ้าต้องการให้ A สลายตัวไปร้อยละ 90 โดยน้ำหนักในเวลาเพียง 10 นาที จะต้องเพิ่มอุณหภูมิขึ้นกี่องศาเซลเซียส
    10
    20
    30
    40
11. เมื่อจุ่มโลหะลงในสารละลายได้ผลตามตารางโลหะสารละลาย(1 M)ผลการทดลองPbCuSO4สีของสารละลายจางลงAlCuSO4สีของสารละลายจางลงAlPb(NO3)2มีโลหะเกาะที่ผิว AlCuAgNO3มีโลหะเกาะที่ผิว Cuการเรียงลำดับความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดซ์ของไอออนของโลหะจากมากไปน้อย ข้อใดถูก
    Pb2+ > Al3+ > Cu2+ > Ag+
    Cu2+ > Pb2+ > Ag+ > Al3+
    Ag+ > Cu2+ > Pb2+ > Al3+
    Al3+ > Pb2+ > Cu2+ > Ag+
12. การละลายของสาร x, y และ z ในตัวทำละลาย A และ B เป็นดังนี้สารปริมาณการละลาย (mg/cm3)ตัวทำละลาย Aตัวทำละลาย Bxyz1.50.125154010นำสารละลายผสมที่มี x, y และ z มาทำการแยกโดยวิธีโทรมาโทกราฟีแบบกระดาษใช้ A และ B ในอัตราส่วน 1 : 1 โดยปริมาตร เป็นตัวทำละลาย ถ้าการดูดซับของสาร x, y และ z ใกล้เคียงกัน การเปรียบเทียบค่า Rf ของสารทั้งสาม ข้อใดถูกต้อง
    x > y > z
    y > z > x
    z > x > y
    z > y > x
13. ปฏิกิริยา Ba(NO3)2(aq) + Na2SO4(aq)?→ BaSO4(s) + NaNO3(aq) (สมการยังไม่ดุล) นักเรียนคนหนึ่งเตรียมสารละลาย 2 ชนิดดังนี้?? 1. ละลาย BA(NO3)2 104.4 g ในน้ำจนได้สารละลาย 1 dm3?? 2. ละลาย Na2SO4 14.2 g ในน้ำจนได้สารละลาย 1 dm3ถ้าต้องการได้สารละลาย NaNO3 เข้มข้น 0.16 mol dm-3 ปริมาตร 500 cm3 จะต้องใช้สารละลาย BA(NO3)2 และสารละลาย Na2SO4 อย่างละกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร ตามลำดับ
    100, 400
    200, 300
    300, 200
    400, 100
14. ณ เวลาต่างๆ เมื่อปล่อยให้ปฏิกิริยาเกิดตามปกติ และเมื่อทำการทดลองใหม่โดยเติมสาร x สาร y สาร z เข้าไป พบว่าหลังการทดลอง ปริมาณของ x, y และ z ไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อนำผลการทดลองที่ได้มาเขียนกราฟเปรียบเทียบกันจะได้ดังนี้ผู้ทดลองสรุปผลได้ว่า?? ก. เมื่อเติมสาร x สาร y และสาร z เข้าไปแล้ว อุณหภูมิ เมื่อเติม z > เมื่อเติม y > เมื่อเติม x?? ข. x, y และ z เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา?? ค. ประสิทธิภาพการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาของ z > y > xข้อสรุปใดถูก
    ก และ ข เท่านั้น
    ข และ ค เท่านั้น
    ก และ ค เท่านั้น
    ก, ข และ ค
15. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้สารมวลโมเลกุลความเข้มข้นในน้ำจุดเยือกแข็งของสารละลาย,°Cเอทิลแอลกอฮอล์4610% โดยมวลaน้ำตาลทราย3423 g ในน้ำ 25 cm3bเอทิลีนไกลคอล6240% โดยมวลcยูเรีย604 g ในน้ำ 15 cm3dการเรียงลำดับจุดเยือกแข็งของสารละลายในข้อใดถูก
    a > b > c > d
    b > a > d > c
    c > d > a > b
    d > c > d > a
16. กำหนดให้ไอโซโทปมวลอะตอมปริมาณไอโซโทป(ร้อยละ)1x1992x2110y102011y1180ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสาร x14y1
    สารนี้ 50 โมเลกุลมีมวลเฉลี่ยเท่ากับ 1.01 x 10-20 g
    สารนี้ 0.3 mol หนัก 35 g
    มวลโมเลกุลของสารนี้เท่ากับ 125
    สารนี้มีธาตุ y อยู่ร้อยละ 90 โดยมวล
17. NH3(g) + O2(g) ⇌ NO2(g) + H2O(g) + พลังงาน (สมการยังไม่ดุล) ถ้านำแก๊ส NH3 และแก๊ส O2 มาทำปฏิกิริยากันแล้วปล่อยให้ระบบเข้าสู่ภาวะสมดุล ข้อใดถูก
    เมื่อเพิ่มความดันจะไม่มีผลต่อภาวะสมดุลของระบบ
    ถ้านำภาชนะที่ทำปฏิกิริยานี้ไปแช่ในน้ำแข็ง ระบบจะปรับตัวทำให้ปริมาณ NH3 และ O2 เพิ่มขึ้น
    การเพิ่มจำนวนโมเลกุลของ NH3 ระบบจะปรับตัวทำให้มีจำนวนโมเลกุลของ NO2 และ H2O มากขึ้น
    เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ จะไม่ทำให้ค่าคงที่สมดุลของระบบเปลี่ยนแปลง
18. สารละลายในข้อใดมี pH สูงที่สุด
    BOH 0.02 mol dm-3, Kb ของ BOH = 5?× 10-7
    NH3 0.1 mol dm-3 250 cm3 ผสมกับ HCl 0.1 mol dm-3 5 cm3, Kb ของ NH3 = 2?× 10-5
    Na2SO4 2 g ในน้ำ 100 cm3, Kb ของ SO24 = 9.8?× 10-13
    NaCN 10-3 mol dm-3, Kb ของ CN- = 2.5?× 10-5
19. ปรากฏการณ์ข้อใดที่คายพลังงาน
    ทาแอลกอฮอล์บริเวณผิวหนังแล้วรู้สึกเย็น
    เทไนโตรเจนเหลวบนพื้นเวทีเพื่อให้เกิดควันขาว
    ใส่เม็ดเกลือบนน้ำแข็งในถังทำไอศกรีมทำให้อุณหภูมิต่ำกว่า 0°C
    การเกิดหยดน้ำเกาะที่กระจกด้านนอกห้องที่เปิดเครื่องปรับอากาศ
20. ภาชนะ A, B, C และ D ทำด้วยแก้วทนความดัน X, Y และ Z เป็นลิ้นปิด-เปิดระหว่างภาชนะ ในภาชนะ A และ B บรรจุแก๊ส N2 และ O2 ตามลำดับ ส่วนภาชนะ C และ D เป็นสุญญากาศข้อความใดถูกต้อง
    จำนวนโมเลกุลของแก๊ส N2 ในภาชนะ A เท่ากับจำนวนโมเลกุลของแก๊ส O2 ในภาชนะ B
    เมื่อเปิดลิ้น X ปล่อยให้แก๊ส O2 และ N2 ผสมกันที่อุณหภูมิ 27°C ความดัน 1 atm ที่ภาวะสมดุล จำนวนโมเลกุลของแก๊สในสองภาชนะจะเท่ากัน
    เมื่อเปิดลิ้น Z ที่อุณหภูมิ 27°C ความดันของแก๊สในภาชนะ C จะเพิ่มขึ้น ส่วนในภาชนะ B จะลดลง
    เปิดลิ้น Y และ Z ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ที่ภาวะสมดุลความหนาแน่นของแก๊สในภาชนะ D จะมากกว่า C
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
แนะนำชุดข้อสอบ

1. แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1


2. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กีฬาแบดมินตัน


3. แนวข้อสอบภาษาอังกฤษ ป.5


4. แบบทดสอบวิชาบาสเก็ตบอล


หน้าแรก

EDUCATION RESEARCH | Test Home
Version Thaitestonline.com | Mobile
เพื่อนบ้านเว็บครูออฟ