ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 90 หรือ 18 ข้อขึ้นไป
ทุกครั้งที่เข้าทำแบบทดสอบเสร็จสมบูรณ์ จะได้รับแต้มเข้าใช้งาน 1 แต้ม | ส่วนนี้จะทำการบันทึกข้อมูลเพื่อออกใบรับรอง หากทำแบบทดสอบผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
แบบทดสอบนี้ มีจำนวนข้อสอบ
20
ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อ ให้เลือก เพิ่มจำนวนข้อเป็น
20 ข้อ
30 ข้อ
50 ข้อ
1. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดที่เป็นหลักฐานขั้นทุติยภูมิ
โบสถ์ วิหาร เจดีย์
เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องปั้นดินเผา เครื่องประดับ
พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)
หนังสือ ตำรา งานวิจัย รายงาน วารสาร วรรณคดี ข้อมูลประเภทบอกเล่าที่เล่าต่อๆ กันมา และภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์
2. การวิเคราะห์ข้อมูลและการสังเคราะห์ข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร
ทำให้ข้อมูลมีความกระชับรัดกุมยิ่งขึ้น
แสดงความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องกันของเหตุการณ์
ทำให้ทราบองค์ประกอบที่ก่อให้เกิดเหตุการณ์ขึ้น
สามารถแยกข้อมูลจริงและข้อมูลปลอมออกจากกัน
3. หากต้องการทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างไทย - จีน ในยุคจักรพรรดิเฉียนหลง ควรวิเคราะห์จากสิ่งใด
เอกสารสมัยสุโขทัย
เอกสารสมัยอยุธยา
เอกสารสมัยธนบุรี
เอกสารสมัยรัตนโกสินทร์
4. ลักษณะของนักประวัติศาสตร์ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
มีการทดลองศึกษาเพียงครั้งเดียว
ใช้สำนวนการบันทึกแบบโวหาร
มีความละเอียดถี่ถ้วน ช่างสังเกต
ผลสรุปที่ได้จากการค้นคว้าถือว่าเป็นความจริงที่ใครโต้แย้งไม่ได้
5. เพราะเหตุใด หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรของประเทศไทย จึงมีจำนวนไม่มากนัก
เกิดการสูญหาย
หลักฐานได้รับความเสียหาย
คนไทยไม่ชอบจดบันทึก
ถูกลักลอบนำออกไปขายในต่างประเทศ
6. ข้อใดที่ทำให้การบันทึกข้อมูลของบุคคลในประวัติศาสตร์เกิดความคลาดเคลื่อนได้
ตัวอักษร
ทัศนคติ
วัสดุที่ใช้บันทึก
คำยืมจากต่างชาติ
7. ข้อใดเป็นการตีความได้ถูกต้องจากข้อมูลต่อไปนี้ "ปีหนึ่งๆ เขาฆ่าช้างประมาณ ๑๐,๐๐๐ ตัว และส่งงาไปขายยังประเทศจีน
ประเทศจีนได้กำไรจากการค้างาช้าง
อาณาจักรอยุธยาส่งงาช้างไปขายยังประเทศจีน
อาณาจักรอยุธยาฆ่าช้างเพื่อส่งไปขายยังประเทศจีน
อาณาจักรอยุธยาได้กำไรจากการส่งช้างและงาช้างไปขายยังประเทศจีน
8. การจะยอมรับในเหตุการณ์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอิสรภาพว่ามีอยู่จริงหรือไม่ ต้องยอมรับการยืนยันจากหลักฐานสำคัญชนิดใด
วรรณคดี
หนังสือพิมพ์
พระราชพงศาวดาร
บทความทางด้านประวัติศาสตร์
9. ลักษณะของนักประวัติศาสตร์ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
มีการทดลองศึกษาเพียงครั้งเดียว
ใช้สำนวนการบันทึกแบบโวหาร
มีความละเอียดถี่ถ้วน ช่างสังเกต
ผลสรุปที่ได้จากการค้นคว้าถือว่าเป็นความจริงที่ใครโต้แย้งไม่ได้
10. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดที่เป็นหลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรขั้นปฐมภูมิ
โบสถ์ วิหาร เจดีย์ หลุมฝังศพ อาวุธ
พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
บทวิจารณ์เหตุการณ์
หนังสือ ตำรา งานวิจัย รายงาน
11. หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรทำให้นักเรียนสามารถสะท้อนข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ได้อย่างไร
ทำให้รู้จักการตีความทางประวัติศาสตร์
ทำให้ทราบว่าหลักฐานมีความน่าเชื่อถือหรือไม่
ทำให้ทราบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในยุคต่างๆ
ทำให้ทราบว่าผู้บันทึกนั้นมีความเป็นกลางหรือไม่
12. หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีตวามสำคัญต่อการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์อย่างไร
เป็นหลักฐานชั้นต้นที่น่าเชื่อถือได้
เป็นการประเมินคุณค่าของหลักฐาน
สามารถสรุปองค์ความรู้ และแหล่งอ้างอิงได้ เพื่อให้ง่ายและสะดวกต่อการสืบค้น
เป็นร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัย ความเชื่อ ประเพณีปฏิบัติของมนุษย์ในอดีต
13. ก่อนหน้าที่จะมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ปรากฏหลักฐานว่ากรุงศรีอยุธยาเคยเป็นที่ตั้งของเมืองใดมาก่อน
ละโว้
อโยธยา
อู่ทอง
สุพรรณภูมิ
14. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดเป็นหลักฐานขั้นปฐมภูมิทั้งหมด
พงศาวดาร ศิลาจารึก กฎหมายตราสามดวง ปูมโหร
จดหมายเหตุ อัตชีวประวัติ วารสาร ภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์
โบราณวัตถุ ตำราประวัติศาสตร์ ข่าวจากหนังสือพิมพ์
โบราณคดี วรรณคดี ตำรา งานวิจัย รายงาน บทความทางด้านประวัติศาสตร์
15. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายนอก
การวิเคราะห์เนื้อหาที่บันทึก
ข้อมูลที่บันทึกว่าเป็นกลางหรือไม่
การนำเสนอข้อมูลมีการบิดเบือนหรือไม่
ความน่าเชื่อถือของบุคคลผู้บันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
16. ข้อใดแสดงถึงความจริงเกี่ยวกับเรื่องราวทางประวัติศาสตร์
ไทยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑ ใน พ.ศ. ๒๑๑๒
คนไทยอ่อนแอจึงเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐
จำนวนทหารน้อยทำให้ต้องเสียกรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. ๒๑๑๒
ผู้คนอ่อนแอและขาดความสามัคคีจึงเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. ๒๓๑๐
17. บันทึกประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยามในสมัยแผ่นดินของ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นผลงานทางประวัติศาสตร์ของบุคคลใด
ลา ลูแบร์
นิโกลาส์ แชรเวส
ศ. ขจร สุขพาณิช
สันต์ ท.โกมลบุตร
18. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ช้างเผือก (ตามฉบับหลวงประเสริฐฯ) ว่าเมื่อปีเถาะ จุลศักราช ๘๓๓ เป็นช้างเผือกตัวแรกที่ปรากฎว่าได้ในครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี...จากข้อความนี้ สามารถตีความข้อมูลได้ว่าอย่างไร
ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงได้ช้างเผือกตัวแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๐๑๔ นับตั้งแต่ตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
พ.ศ. ๒๐๑๔ เป็นปีที่ช้างเผือกตัวแรกปรากฎนับตั้งแต่ตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
เมื่อครั้งตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในพ.ศ. ๒๐๑๔ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงได้ช้างเผือกตัวแรก
ช้างเผือกตัวแรกได้เมื่อครั้งตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ต่อมาในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงได้ช้างเผือกอีกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๑๔
19. ข้อใดให้คำจำกัดความความจริงทางประวัติศาสตร์ได้ถูกต้องมากที่สุด
เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับจากบุคคลทั่วไป
ข้อมูลเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตที่ผ่านการตรวจสอบ/วิเคราะห์แล้ว
ข้อมูลเหตุการณ์ในอดีตที่มีการบันทึกและเล่าสืบเนื่องต่อกันมาตามยุคสมัย มีหลักฐานยืนยันเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ข้อเท็จจริงเหตุการณ์ในอดีตที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นความจริงโดยมีหลักฐานขั้นปฐมภูมิกล่าวถึงและยืนยันเหตุการณ์นั้น ๆ
20. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายใน
ประสบการณ์ของผู้เขียน
ประวัติและผลงานของผู้บันทึก
ความถูกต้องของข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิงชัดเจน
ความเป็นนักประวัติศาสตร์ที่มีขั้นตอนการบันทึกข้อมูลที่เป็นกลาง
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
แนะนำชุดข้อสอบ
1.
แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1
2.
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กีฬาแบดมินตัน
3.
แนวข้อสอบภาษาอังกฤษ ป.5
4.
แบบทดสอบวิชาบาสเก็ตบอล
EDUCATION RESEARCH
|
Test Home
Version Thaitestonline.com |
Mobile
เพื่อนบ้าน
เว็บครูออฟ