ภาษาไทย3

ภาษาไทย3,ภาษาไทยแบบทดสอบสัสดีเพื่อทบทวนและฝึกทำข้อสอบ,ภาษาไทย คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 60 หรือ 6 ข้อขึ้นไป
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลแล้ว 2846 ครั้ง
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
ข้อสอบชุดนี้จำนวน 10 ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อสอบ คลิก ทำแบบทดสอบออนไลน์
1. ข้อใดเป็นอวัจนภาษาที่แสดงถึงความไม่สุภาพ
    วิทยาธรได้รับคำชมว่าเป็นผู้ชายที่มีเสน่ห์ จะนั่งจะยืนมีท่าทางสุภาพ นอบน้อมอยู่เสมอ
    ใครๆ มักบอกเขาว่าไม่น่าชื่อวินัย เพราะเขาไม่มีวินัย เวลานายเรียกก็เดินล้วงกระเป๋าเข้าไปหา
    สถาพรรีบมาทำงานแต่เช้าและยิ้มทักทายผู้อื่นด้วยหน้าตายิ้มแย้มทุกวัน
    เวลานำเอกสารเข้าไปนำเสนอเจ้านาย วิศรุตจะยืนค้อมตัวรอรับคำสั่งจากนายเสมอ
2. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ
    คนงานใหม่ขยันเป็นพักๆ เอาแน่ไม่ได้
    นักเรียนอนุบาลหกล้มหัวเข่าแตกเลือดไหลซิบๆ
    ในสวนสาธารณะมีคนออกกำลังกายกันประปราย
    ที่ปากทางเข้าหมู่บ้านมียามรักษาการอยู่ตลอดเวลา
3. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ตรีมากที่สุด
    ประเพณีกินเจของชาวจีนมีอาหารเจขายมากมาย
    ร้านค้าขายโค้กยังติดธงเจสีเหลืองเลย
    ผัดหมี่ ผัดซีอิ๊ว และโกซีหมี่ขายดีเป็นเทน้ำเทท่า
    เธอชอบกินอาหารเจใช่ไหม วันพรุ่งนี้ฉันจะซื้อมาฝาก
4. ข้อใดมีคำไทยแท้ทุกคำ
    นารีตกกระไดพลอยโจนกับบุรุษหลังจากดูใจกันมานาน
    พอฝนจะตกก็รีบกลับบ้านทันที
    สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตกลูกครั้งละตัว
    เพื่อนชวนเขาไปเรียนต่อที่กรุงเทพฯ เขาจึงตกลงใจแต่งงานกัน
5. “ หวานใดไม่หวานนักเท่ารสรักสมัครสมไร้รักหนักอารมณ์หวานเหมือนขมอมโศกา ” บทประพันธ์ข้างต้นใช้โวหารประเภทใด และใช้ลักษณะคำประพันธ์ประเภทใด
    ประเภทของโวหาร: อุปมาโวหาร ลักษณะคำประพันธ์: กาพย์
    ประเภทของโวหาร: เทศนาโวหาร ลักษณะคำประพันธ์: กาพย์
    ประเภทของโวหาร: สาธกโวหาร ลักษณะคำประพันธ์: กลอน
    พรรณนาโวหาร ลักษณะคำประพันธ์: กลอน
6. ข้อใดมีการประสมอักษรเหมือนคำว่า สัมฤทธิ์
    พระเจ้า
    สามัญ
    เจ้าเล่ห์
    คำศัพท์
7. ลักษณะคำในข้อใดมีการกลายเสียง
    อย่างนี้-ยังงี้
    หมากพร้าว-มะพร้าว
    ตะกรุด-กะตุด
    สะดือ-สายดือ
8. ข้อใดมีคำประพันธ์ที่เหมือนกับคำประพันธ์ที่ยกตัวอย่างมานี้ “ กลางไพรไก่ขันบรรเลงฟังเสียงเพียงเพลงซอเจ้งจำเรียงเวียงวัง ”
    เร่งพลพาชีตีกระหนาบตัวนายชักดาบออกไล่หลัง
    ตีนงูงูไซร้หากเห็นกันนมไก่ไก่สำคัญไก่รู้
    ลิงค่างครางโครกครอกฝูงจิ้งจอกออกเห่าหอน
    ไว้ปากไว้วากย์วาทีไว้วงศ์กวีไว้เกียรติและไว้นามกร
9. คำว่า “ขัน” ข้อใดมีหน้าที่ของคำแตกต่างจากข้ออื่นมากที่สุด
    เขาพูดเรื่องขำขัน
    ไหนขันที่ฉันต้องการ
    เขาขันอาสาช่วยเหลือเรา
    เมื่อเช้านี้ ไก่ขันเสียงดังมาก
10. คำประพันธ์ในข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น
    เปิบข้าวทุกคราวคำ
    จงสูจำเป็นอาจิณ เหงื่อกูที่สูกิน
    จึงก่อเกิดมาเป็นคน
    รอนรอนอ่อนอัสดง
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ ครับ

EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS