แนวสอบ O-NET ภาษาไทย ชุดที่5

แนวสอบ คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 90 หรือ 9 ข้อขึ้นไป
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลแล้ว 491 ครั้ง
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
ข้อสอบชุดนี้จำนวน 0 ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อสอบ คลิก ทำแบบทดสอบออนไลน์
1. พระพลันเห็นเหตุไซร้ถนัดดั่งภูผาหลวงกระหม่ากระเหม่นทรวงหนักหฤทัยท่านร้องเสียวดวง แดเอยตกต้องสั่นซีด พักตร์นาเรียกให้โหรทาย ฯข้อใดไม่ใช่อารมณ์ความรู้สึกที่ปรากฏในบทประพันธ์ข้างต้น
    หนักใจ
    พรั่นใจ
    หวั่นใจ
    ร้อนใจ
2. "ข้าขอประนมหัตถ์ พระไตรรัตนนาถา ตรีโลกอมรมา อภิวาทนาการ อนึ่งข้าอัญชลี พระฤๅษีผู้ทรงญาณ แปดองค์เธอมีฌาน โดยรอบรู้ในโรคา ไหว้คุณอิศวเรศ ทั้งพรหมเมศทุกชั้นฟ้า สาปสรรค์ซึ่งหว้านยา ประทานทั่วโลกธาตรี ไหว้ครูกุมารภัจ ผู้เจนจัดในคัมภีร์ เวชศาสตรบรรดามี ให้ทานทั่วแก่นรชน ไหว้ครู ผู้สั่งสอน แต่ปางก่อนเจริญผล ล่วงลุนิพพานดล สำเร็จกิจประสิทธิ์พร" จากบทประพันธ์ข้างต้นสะท้อนคุณธรรมใดในสังคมไทย
    กตัญญู
    เมตตา
    มุทิตา
    กรุณา
3. "ท่านเชื่อหรือว่าพวกหนุ่มๆ ของเราจะทำประโยชน์ให้แก่บ้านเมือง โดยทางเสมียนมากกว่าทางอื่นๆ ได้อย่างไร ถ้าไม่อุดหนุนจำนวนที่จำเพาะสิ่งของนั้นๆ ขึ้น?" ข้อความข้างต้นคำว่า "เพาะ" มีความหมายในลักษณะใด และมีความหมายว่าอย่างไร
    ลักษณะความหมายความหมายความหมายตรงทำให้งอก
    ลักษณะความหมายความหมายความหมายตรงส่งเสริม
    ลักษณะความหมายความหมายความหมายแฝงปลูก
    ลักษณะความหมายความหมายความหมายแฝงทำให้เกิด
4. พอทรงจบแจ้งพระทัยในข้อหามันเคี่ยวเข็ญทำเป็นอย่างไรกัน ?ก็โกรธาเคืองขุ่นหุนหันอีวันทองคนเดียวไม่รู้แล้วข้อใดสอดคล้องกับบทประพันธ์ข้างต้น
    อุปมา
    นามนัย
    อุปลักษณ์
    ปฏิปุจฉา
5. ข้อใดปรากฏรสวรรณคดีต่างจากข้ออื่น
    สงสารน้ำคำที่พร่ำสั่งครวญพลางกำสรดระทดกายคิดถึงความหลังแล้วใจหายแล้วคิดอายพวกพลมนตรี
    เอนองค์ลงอิงพิงเขนยรสรักร้อนรนพ้นกำลังกรเกยก่ายพักตร์ถวิลหวังชลนัยน์ไหลหลั่งลงพรั่งพราย
    เมื่อนั้นกอดศพเชษฐาเข้าจาบัลย์?สองระตูวิโยคโศกศัลย์พิโรธร่ำรำพันโศกา
    เมื่อนั้นค้อนให้ไม่แลดูสาราโฉมยงองค์ระเด่นจินตะหรากัลป์ยาคั่งแค้นแน่นใจ
6. จากวรรณกรรมเรื่อง นิทานเวตาล นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้? ? ?"อนึ่งพระองค์ย่อมจะทราบคาถาซึ่งมูลเทวะบัณฑิตแต่งไว้ มีความว่า ชายผู้ไม่ใช่คนโง่ ไม่ยอมคืนสู่ เรือนซึ่งไม่มีนางที่รักผู้มีรูปงามคอยรับรองในขณะกลับถึงเรือนนั้น"ข้อความข้างต้นใช้โวหารแบบใด
    สาธกโวหาร
    อุปมาโวหาร
    บรรยายโวหาร
    พรรณนาโวหาร
7. "ถ้าเราจะสอนเขาทั้งหลายให้รู้สึกเกียรติยศแห่งการที่จะเป็นผู้เพาะความสมบูรณ์ให้แก่ประเทศ เช่น ชาวนา ชาวสวน พ่อค้าช่างต่างๆ จะไม่ดีกว่าหรือ" ข้อความข้างต้นใช้กลวิธีทางวรรณศิลป์แบบใดเด่นชัดที่สุด และกลวิธีดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายอย่างไร
    กลวิธีทางวรรณศิลป์จุดมุ่งหมายใช้การเปรียบเทียบย้ำให้จดจำ
    กลวิธีทางวรรณศิลป์จุดมุ่งหมายใช้ภาษาไพเราะมีความไพเราะน่าอ่าน
    กลวิธีทางวรรณศิลป์จุดมุ่งหมายใช้ประโยคคำถามกระตุ้นให้คิด
    กลวิธีทางวรรณศิลป์จุดมุ่งหมายใช้คำแสดงความรู้สึกทำให้น่าเชื่อถือ
8. อออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ? ? ? ? ? ? ? ? ? ก็มาเป็น? ? ?ศึกบถึงและมึงก็ยังมิเห็น จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ? ? ? ? ?ประการใด ข้อใดต่อไปนี้ไม่ปรากฏในบทประพันธ์ข้างต้น
    รุทธรส
    พิโรธวาทัง
    การใช้ภาพพจน์
    คำถามเชิงวาทศิลป์
9. "แว่วเสียงสำเนียงบุหรงร้องพระแย้มเยี่ยมม่านทัศนาเอนองค์ลงอิงพิงเขนยรสรักร้อนรนพ้นกำลังว่าเสียงสามนิ่มน้องเสน่หาเห็นแต่ป่าพุ่มไม้ใบบังกรเกยก่ายพักตร์ถวิลหวังชลนัยน์ไหลหลั่งลงพรั่งพราย"ข้อใดไม่สามารถอนุมานได้จากบทประพันธ์ข้างต้น
    มีความเศร้าจากความรัก
    มีความผิดหวังในความรัก
    มีความลุ่มหลงในความรัก
    มีความร้อนแรงในความรัก
10. ข้อใดให้จินตภาพแตกต่างจากข้ออื่น
    ตายระดับทับกันดังฟอนฟาง ?เลือดนองท้องช้างเหลวไหล
    ผงคลีมืดคลุ้มชอุ่มควัน ? รีบร้นพลขันธ์คลาไคล
    ว่าแล้วสองกษัตริย์ก็จัดทัพ ? พร้อมสรรพพหลพลขันธ์
    พอได้ศุภฤกษ์ก็ลั่นฆ้อง ?ประโคมศึกกึกก้องท้องสนาม
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ ครับ

EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS