ภาษาไทย หลักภาษา ชั้น ป.5

ภาษาไทย คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 60 หรือ 12 ข้อขึ้นไป

73962 ภาษาไทย หลักภาษา ชั้น ป.5

หน้านี้แสดงครั้งละ 20 ข้อบนเครื่องพิวเตอร์ทั่วไป
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
1. ข้อใด คือภาษาที่ใช้ในการเขียน
    ลูกสาว
    บุตรสาว
    เมีย
    ผัว
2. ใจคนล้วนบอบบางเปราะพังง่าย พร้อมจะแหลกสลายไหวส่ายสั่น หากไม่ทะนุถนอมน้ำใจกัน สายใยความสัมพันธ์ก็ราน ร้าว...จากบทกลอนข้างต้น ให้ข้อคิดในเรื่องใด
    การอยู่ร่วมกันในสังคม
    ความแตกแยก
    ความสามัคคี
    จิตใจของมนุษย์
3. ข้อใด มีความหมายตรงกับสำนวนที่ว่า กวนน้ำให้ขุ่น
    ทำเรื่องที่สงบไปแล้วให้วุ่นวายขึ้นมาอีก
    หลบหลีกไปได้อย่างคล่องแคล่ว
    ตกใจ ใจหาย
    ตัวเองทำผิดทำไม่ดี แล้วกลับไป โทษผู้อื่น
4. ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม ระหว่างนักเขียนกับนักหนังสือพิมพ์มีเส้นแบ่งอย่างหลวมๆ ประการหนึ่งตรง ที่นักเขียนอาศัยจินตนาการ พึ่งพิงความสามารถทางภาษาที่ค่อนข้างพริ้ง-พราววิลิศมาหราด้วยสำบัดสำนวน ขณะที่นัก หนังสือพิมพ์อาศัยความจริงและถ่ายทอดความจริงออกมาอย่างตรงไปตรงมา ไม่อ้อมค้อม วกวน นักเขียน นักประพันธ์ หรือกวี จึงมักเป็นคนช่างฝัน ขณะที่นักหนังสือพิมพ์ นักข่าว กอดความจริง อยู่กับความจริง จาก มติชนรายสัปดาห์ จากบทความข้างต้น นักข่าวต้องใช้ความสามารถด้านใดมากที่สุด
    ภาษาเขียน
    ค้นหาข้อเท็จจริง
    จินตนาการ
    การใช้สำบัดสำนวน
5. ประโยคในข้อใดมีภาษาพูด
    เยี่ยวรดที่นอน
    ขออนุญาติไปอุจจาระ
    รู้สึกเวียนศีรษะ
    เป็นสามีที่ถูกต้อง
6. การเขียนเรียงความ ส่วนของเรื่องราวและรายละเอียดจะประกอบอยู่ส่วนใด
    คำนำ
    เนื้อหา
    สรุป
    ถูกทุกข้อ
7. ข้อใดสำคัญที่สุดในการเขียนสรุปเรื่อง
    สรุปใจความสำคัญครบถ้วน
    ใช้ภาษาที่สละสลวย
    รักษาความสะอาดในงานเขียน
    คัดลอกข้อความสำคัญมาใส่ให้ ครบถ้วน
8. คำในข้อใด มีความหมาย ไม่เหมือนกันทุกคน
    หัสนัยน์ มัฆวาน อมรินทร์
    อาสัญ บรรลัย ตักษัย
    กุมภัณฑ์ รากษส อสุรินทร์
    อัปสร สุรางค์ อรไท
9. ข้อใดไม่ใช่วิธีการย่อความ
    อ่านเรื่องอย่างละเอียด
    ใช้สำนวนภาษาของผู้ย่อ
    เขียนคำนำการย่อความตามแบบ
    เขียนชื่อเรื่องก็ได้หรือไม่เขียนก็ได้
10. นักเรียนมีวิธีการย่อความอย่างไรให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ได้เรียนมา
    อ่านแล้วขีดเส้นใต้ใจความที่คิดว่าสำคัญ
    อ่านทีละย่อหน้าแล้วเขียนเลขกำกับไว้กันลืม
    อ่านให้เข้าใจแล้วเรียบเรียงใหม่ด้วยภาษาของผู้ย่อเอง
    นำข้อความที่เลือกแล้วว่าสำคัญมาเขียนให้ติดต่อกันไปจนจบเรื่อง
11. กาย์ยานี 11 ในบทมี 4 วรรค วรรคหน้ากี่คำ? วรรคหลังกี่คำ?
    4, 6
    8, 8
    4, 4
    4, 6
12. ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม ระหว่างนักเขียนกับนักหนังสือพิมพ์มีเส้นแบ่งอย่างหลวมๆ ประการหนึ่งตรง ที่นักเขียนอาศัยจินตนาการ พึ่งพิงความสามารถทางภาษาที่ค่อนข้างพริ้ง-พราววิลิศมาหราด้วยสำบัดสำนวน ขณะที่นัก หนังสือพิมพ์อาศัยความจริงและถ่ายทอดความจริงออกมาอย่างตรงไปตรงมา ไม่อ้อมค้อม วกวน นักเขียน นักประพันธ์ หรือกวี จึงมักเป็นคนช่างฝัน ขณะที่นักหนังสือพิมพ์ นักข่าว กอดความจริง อยู่กับความจริง จาก มติชนรายสัปดาห์ ข้อความนี้สรุปว่าอย่างไร
    นักเขียนใช้ความสามารถทาง ภาษา นักข่าวใช้ความจริง
    นักเขียนใช้ภาษาได้ไพเราะกว่านัก ข่าว
    นักเขียนชอบจินตนาการมากกว่า ความจริง
    นักข่าวจะเขียนข่าวจากเรื่องจริง ไม่ใช่เพ้อฝัน
13. เขาตั้ง.........ไว้ว่าจะเป็นครูที่ดี ควรเติมคำใดในช่องว่าง
    ปณิธาน
    อุปมา
    อุทาน
    อุปไมย
14. ข้อใดเป็นลักษณะของประโยคความเดียว
    พ่อและแม่ทำงาน
    แม่ทำกับข้าวเช้า
    น้อยและนิดที่กำลังว่ายน้ำ
    ทั้งเธอและฉันต่างไม่เข้าใจ
15. คำเชื่อมที่แสดงเหตุผล คือข้อใด
    และ
    จึง
    แต่
    หรือ
16. ข้อใดคือการพัฒนางานเขียน
    การได้รับรางวัลจากการเขียน
    การเขียนเรื่องใหม่ที่มีความยาก กว่าเรื่องเดิม
    การเขียนเรื่องใหม่ได้ดียิ่งขึ้น
    การปรับปรุงงานเขียนให้สมบูรณ์
17. สำนวนในข้อใดมีความหมายคล้ายกับ เข้าเมืองตาหลิ่วต้องหลิ่วตาตาม
    เข้าคอ
    เข้าตามตรอก ออกตามประตู
    เข้าฝูงหงส์เป็นหงส์ เข้าฝูงกาเป็นกา
    เข้ากันเป็นปี่เป็นขลุ่ย
18. ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม ระหว่างนักเขียนกับนักหนังสือพิมพ์มีเส้นแบ่งอย่างหลวมๆ ประการหนึ่งตรง ที่นักเขียนอาศัยจินตนาการ พึ่งพิงความสามารถทางภาษาที่ค่อนข้างพริ้ง-พราววิลิศมาหราด้วยสำบัดสำนวน ขณะที่นัก หนังสือพิมพ์อาศัยความจริงและถ่ายทอดความจริงออกมาอย่างตรงไปตรงมา ไม่อ้อมค้อม วกวน นักเขียน นักประพันธ์ หรือกวี จึงมักเป็นคนช่างฝัน ขณะที่นักหนังสือพิมพ์ นักข่าว กอดความจริง อยู่กับความจริง จาก มติชนรายสัปดาห์ ข้อความนี้กล่าวถึงเรื่องอะไร
    การถ่ายทอดความจริงและความ สามารถทางภาษา
    การเป็นคนช่างฝันและอยู่กับความ จริง
    การใช้ภาษาของนักหนังสือพิมพ์ และนักเขียน
    ความแตกต่างระหว่างนักเขียนกับ นักข่าว
19. สรรพนามแทนพระสงฆ์ ควรเป็นคำใด
    เขา
    พระองค์
    ท่าน
    แก
20. ข้อใดเป็นประโยคสองส่วน
    แม่ตัดเสื้อผ้า
    ลุงสอบมะม่วง
    ฝนตกหนัก
    ป้าถือของหนัก
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
แนะนำชุดข้อสอบ

1. แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1


2. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กีฬาแบดมินตัน


3. แบบทดสอบวิชาบาสเก็ตบอล


4. ข้อสอบ บรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอก ปฐมวัย พร้อมเฉลย 50 ข้อ


นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ


EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS