สารและสมบัติของสาร ม.ปลาย ชุดที่2
คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 70 หรือ 7 ข้อขึ้นไป
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลครั้งละ 10 ข้อ บนเครื่องคอมพิวเตอร์สมาชิก
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลแล้ว 3993 ครั้ง
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรด
สมัครสมาชิก
ข้อสอบชุดนี้จำนวน 0 ข้อ
หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อสอบ คลิก
ทำแบบทดสอบออนไลน์
1. ปฏิกิริยาในข้อใดที่มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วที่สุด
การบูดเน่าของอาหาร
การระเบิดของดินปืน
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การย่อยอาหารในร่างกายเรา
2. เพราะเหตุใดการเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสของสารตั้งต้น จะช่วยทำปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นได้
ทำให้พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาลดลง
ทำให้พลังงานของปฏิกิริยาลดลง
ทำให้สารตั้งต้นมีจำนวนอนุภาคที่สัมผัสกันมากขึ้น
ทำให้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นมากขึ้น
3. โลหะชนิดใดที่เกิดปฏิกิริยาได้ยาก สามารถอยู่ได้อย่างอิสระได้ในธรรมชาติ
เหล็ก
แมกนีเซียม
โซเดียม
ทองคำ
4. การเปลี่ยนแปลงในข้อใด จัดว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดขึ้น
เกิดฟองแก๊ส
มีสีเปลี่ยนแปลงไป
เกิดตะกอน
สังเกตได้จากทั้งข้อ 1., 2. และ 3.
5. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสารประกอบโคเวเลนต์
สารประกอบโคเวเลนต์ทุกชนิดสามารถละลายน้ำได้ดี
สารประกอบโคเวเลนต์ที่มีสภาพขั้วแรงมากเมื่อละลายน้ำแล้วจะนำไฟฟ้าได้
สารประกอบโคเวเลนต์มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำเมื่อเทียบกับสารประกอบไอออนิก
สารประกอบโคเวเลนต์เกิดจากอะตอมของธาตุอโลหะกับธาตุอโลหะ
6. สารประกอบในข้อใดที่มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงมากที่สุด
โซเดียมคาร์บอเนต
คาร์บอนไดออกไซด์
ไนโตรเจน
โบรมีน
7. หากปฏิกิริยาเคมีชนิดหนึ่งมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์เท่ากับ 50 kJ/mol ถ้าหากเราเติมตัวเร่งปฏิกิริยาลงไป จะมีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ
ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ลดลงน้อยกว่า 50 kJ/mol
ค่าพลังงานก่อกัมมันต์เพิ่มมากกว่า 50 kJ/mol
ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้ยากมากขึ้น
8. ความแตกต่างของสารตั้งต้นในข้อใดที่เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้สารตั้งต้นต่างๆ มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแตกต่างกัน
ความแตกต่างของขนาดโมเลกุลของสารตั้งต้น
ความแตกต่างของมวลโมเลกุลของสารตั้งต้น
ความแตกต่างของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของสารตั้งต้น
ความแตกต่างของพลังงานภายในสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์
9. ข้อใดต่อไปนี้เป็นบทบาทของตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี
ลดความแตกต่างระหว่างพลังงานของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์
เพิ่มพลังงานให้กับโมเลกุลของสารตั้งต้น
ลดค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา
ช่วยเพิ่มอัตราการชนกันของโมเลกุลของสารตั้งต้น
10. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสารชนิดใดเป็นแรงลอนดอน
เอทิลแอลกอฮอล์
น้ำ
แก๊สออกซิเจน
เกลือแกง
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ ครับ
EDUCATION RESEARCH
|
หน้าแรกข้อสอบ
|
เข้าระบบ
|
สมัครสมาชิก
|
สร้างข้อสอบ
|
แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย
|
TOEIC Online
|
IELTS Online
|
SAT
|
TOEIC
|
IELTS