แนวสอบ O-NET ภาษาไทย ชุดที่5

แนวสอบ คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 90 หรือ 9 ข้อขึ้นไป
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลครั้งละ 10 ข้อ บนเครื่องคอมพิวเตอร์สมาชิก
ข้อสอบชุดนี้แสดงผลแล้ว 490 ครั้ง
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
ข้อสอบชุดนี้จำนวน 0 ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อสอบ คลิก ทำแบบทดสอบออนไลน์
1. "หวังเป็นเกือกทองรองบาทาจะขอพระบุตรีมียศอันกรุงไกรไอศูรย์ทั้งสอง?ขอพำนักพักพึ่งพระเดชาพระผู้วงศ์เทวาอันปรากฏให้โอรสข้าน้อยดังจินดาจะเป็นทองแผ่นเดียวไปวันหน้าไปกว่าชีวันจะบรรลัย"ข้อใดไม่ปรากฏน้ำเสียงในบทประพันธ์ข้างต้น
    อ่อนน้อม
    ยำเกรง
    ถ่อมตน
    ทะนงในศักดิ์ศรีของตน
2. พอทรงจบแจ้งพระทัยในข้อหามันเคี่ยวเข็ญทำเป็นอย่างไรกัน ?ก็โกรธาเคืองขุ่นหุนหันอีวันทองคนเดียวไม่รู้แล้วข้อใดสอดคล้องกับบทประพันธ์ข้างต้น
    อุปมา
    นามนัย
    อุปลักษณ์
    ปฏิปุจฉา
3. บทประพันธ์ในข้อใดปรากฏนาฏการ
    อันสุริยวงศ์เทวัญอสัญหยาทั้งโยธีก็ชำนาญการสงครามเรืองเดชเดชาชาญสนามลือนามในชวาระอาฤทธิ์
    ต่างมีฝีมืออื้ออึงดาบสองมือโถมทะลวงฟันวางวิ่งเข้าถึงอาวุธสั้นเหล่ากริชติดฟันประจัญรบ
    กรุงกษัตริย์ขอขึ้นก็นับร้อยดังหิ่งห้อยจะแข่งแสงอาทิตย์เราเป็นเมืองน้อยกระจิหริดเห็นผิดระบอบบุราณมา
    ใช่จะไร้ธิดาทุกธานีพระองค์จงควรตรึกตรามีงามแต่บุตรีท้าวดาหาไพร่ฟ้าประชากรจะร้อนนัก
4. พระพลันเห็นเหตุไซร้ถนัดดั่งภูผาหลวงกระหม่ากระเหม่นทรวงหนักหฤทัยท่านร้องเสียวดวง แดเอยตกต้องสั่นซีด พักตร์นาเรียกให้โหรทาย ฯข้อใดไม่ใช่อารมณ์ความรู้สึกที่ปรากฏในบทประพันธ์ข้างต้น
    หนักใจ
    พรั่นใจ
    หวั่นใจ
    ร้อนใจ
5. จากวรรณกรรมเรื่อง นิทานเวตาล นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้? ? ?"อนึ่งพระองค์ย่อมจะทราบคาถาซึ่งมูลเทวะบัณฑิตแต่งไว้ มีความว่า ชายผู้ไม่ใช่คนโง่ ไม่ยอมคืนสู่ เรือนซึ่งไม่มีนางที่รักผู้มีรูปงามคอยรับรองในขณะกลับถึงเรือนนั้น"ข้อความข้างต้นใช้โวหารแบบใด
    สาธกโวหาร
    อุปมาโวหาร
    บรรยายโวหาร
    พรรณนาโวหาร
6. "ท่านเชื่อหรือว่าพวกหนุ่มๆ ของเราจะทำประโยชน์ให้แก่บ้านเมือง โดยทางเสมียนมากกว่าทางอื่นๆ ได้อย่างไร ถ้าไม่อุดหนุนจำนวนที่จำเพาะสิ่งของนั้นๆ ขึ้น?" ข้อความข้างต้นคำว่า "เพาะ" มีความหมายในลักษณะใด และมีความหมายว่าอย่างไร
    ลักษณะความหมายความหมายความหมายตรงทำให้งอก
    ลักษณะความหมายความหมายความหมายตรงส่งเสริม
    ลักษณะความหมายความหมายความหมายแฝงปลูก
    ลักษณะความหมายความหมายความหมายแฝงทำให้เกิด
7. "(ก)...พระองค์เสด็จเหาะตรงขึ้นสู่นภากาศ ประดุจจะยังธุลีละอองพระบาทให้เรี่ยราดลง..." และ "(ข)...เมื่อตะวันฉายเงาไม้ มิได้บ่ายไปตามตะวัน บังกั้นพระองค์อยู่ดูประดุจพระกลด..." บทประพันธ์ทั้งสองบทข้างต้นปรากฏภาพพจน์แบบใดบ้าง เรียงตามลำดับ
    (ก) อุปมา (ข) อุปมา
    (ก) อุปมา (ข) อติพจน์
    (ก) อุปมา (ข) อุปลักษณ์
    (ก) ไม่ปรากฏภาพพจน์ (ข) อุปมา
8. ข้อใดให้จินตภาพแตกต่างจากข้ออื่น
    ตายระดับทับกันดังฟอนฟาง ?เลือดนองท้องช้างเหลวไหล
    ผงคลีมืดคลุ้มชอุ่มควัน ? รีบร้นพลขันธ์คลาไคล
    ว่าแล้วสองกษัตริย์ก็จัดทัพ ? พร้อมสรรพพหลพลขันธ์
    พอได้ศุภฤกษ์ก็ลั่นฆ้อง ?ประโคมศึกกึกก้องท้องสนาม
9. ข้อใดมีเนื้อหาแสดงความคิดเห็น
    อันเหล่าศัตรูหมู่ร้าย ?จงแพ้พ่ายอย่ารอต่อติด
    เจ้าจงยกพลขันธ์ไปบรรจบ ?สมทบทัพอิเหนาให้จงได้
    ชะรอยเป็นบุพเพนิวาสา ?เทวาอารักษ์มาชักให้
    กูก็ไม่ครั่นคร้ามขามใคร ?จะหักให้เป็นภัสม์ธุลีผง
10. ข้อใดปรากฏรสวรรณคดีต่างจากข้ออื่น
    สงสารน้ำคำที่พร่ำสั่งครวญพลางกำสรดระทดกายคิดถึงความหลังแล้วใจหายแล้วคิดอายพวกพลมนตรี
    เอนองค์ลงอิงพิงเขนยรสรักร้อนรนพ้นกำลังกรเกยก่ายพักตร์ถวิลหวังชลนัยน์ไหลหลั่งลงพรั่งพราย
    เมื่อนั้นกอดศพเชษฐาเข้าจาบัลย์?สองระตูวิโยคโศกศัลย์พิโรธร่ำรำพันโศกา
    เมื่อนั้นค้อนให้ไม่แลดูสาราโฉมยงองค์ระเด่นจินตะหรากัลป์ยาคั่งแค้นแน่นใจ
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ ครับ

EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS