1. มหาศักราชพบมากในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทใด1) จดหมายเหตุกรุงเก่า 2) ตำนานอุรังคธาตุ 3) ศิลาจารึกสุโขทัย 4) พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
|
2. ในการเริ่มต้นศึกษาประวัติศาสตร์ ควรเริ่มต้นที่ขั้นตอนใด1) สำรวจตนเองว่าอยากรู้เรื่องอะไร 2) ค้นคว้าหลักฐานแล้วตั้งประเด็นคำถาม 3) ศึกษาจากบทความหรือหนังสือที่เราสนใจ 4) สอบถามผู้รู้ว่าเราควรศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอะไร
|
3. การเทียบศักราชมีประโยชน์ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร1) กระตุ้นให้คนหันมาสนใจประวัติศาสตร์ 2) เกิดความสะดวกต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ 3) เน้นให้ตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ 4) สร้างจิตสำนึกให้มีการอนุรักษ์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
|
4. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ ในการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล1) การดำรงชีวิตของมนุษย์ 2) หลักฐานทางโบราณคดี 3) บันทึกที่เป็นลายลักษณ์อักษร 4) สำนวนภาษาที่ปรากฏในบันทึกประวัติศาสตร์
|
5. หลักฐานใดที่เนื้อหาส่วนใหญ่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์1) บันทึกของชาวต่างชาติ 2) จดหมายเหตุ 3) ตำนาน 4) พระราชพงศาวดาร
|
ต้องการเฉลยข้อสอบ โปรดสมัครสมาชิก
|
|