1. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายใน1) ประสบการณ์ของผู้เขียน 2) ประวัติและผลงานของผู้บันทึก 3) ความถูกต้องของข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิงชัดเจน 4) ความเป็นนักประวัติศาสตร์ที่มีขั้นตอนการบันทึกข้อมูลที่เป็นกลาง
|
2. การวิเคราะห์ข้อมูลและการสังเคราะห์ข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร1) ทำให้ข้อมูลมีความกระชับรัดกุมยิ่งขึ้น 2) แสดงความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องกันของเหตุการณ์ 3) ทำให้ทราบองค์ประกอบที่ก่อให้เกิดเหตุการณ์ขึ้น 4) สามารถแยกข้อมูลจริงและข้อมูลปลอมออกจากกัน
|
3. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดที่เป็นหลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรขั้นปฐมภูมิ1) โบสถ์ วิหาร เจดีย์ หลุมฝังศพ อาวุธ 2) พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา 3) บทวิจารณ์เหตุการณ์ 4) หนังสือ ตำรา งานวิจัย รายงาน
|
4. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดที่เป็นหลักฐานขั้นทุติยภูมิ1) โบสถ์ วิหาร เจดีย์ 2) เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องปั้นดินเผา เครื่องประดับ 3) พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 4) หนังสือ ตำรา งานวิจัย รายงาน วารสาร วรรณคดี ข้อมูลประเภทบอกเล่าที่เล่าต่อๆ กันมา และภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์
|
5. ข้อใดแสดงถึงความจริงเกี่ยวกับเรื่องราวทางประวัติศาสตร์1) ไทยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑ ใน พ.ศ. ๒๑๑๒ 2) คนไทยอ่อนแอจึงเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ 3) จำนวนทหารน้อยทำให้ต้องเสียกรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. ๒๑๑๒ 4) ผู้คนอ่อนแอและขาดความสามัคคีจึงเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. ๒๓๑๐
|
ต้องการเฉลยข้อสอบ โปรดเข้าระบบสมาชิก
|
|