ความสำคัญของเวลา ป.6

ความสำคัญของเวลา คำชี้แจง
- ถ้าไม่กรอกทั้งชื่อ และนามสกุลของผู้ทำข้อสอบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ หากต้องการบันทึกโปรดสมัครสมาชิก
- ถ้าทำข้อสอบไม่ครบ ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- ผู้ทำข้อสอบจะมีเวลาในการทำข้อสอบเพียง 30 นาที หากเกินเวลา ระบบจะไม่ตรวจข้อสอบให้
- เกณฑ์ตัดสินผ่านการทดสอบอยู่ที่ร้อยละ 70 หรือ 7 ข้อขึ้นไป
ส่วนนี้จะไม่มีการบันทึกผลสอบ และแสดงเฉลยแบบทดสอบ หากต้องการบันทึก และรายงานการทำแบบทดสอบ โปรดสมัครสมาชิก 
ข้อสอบชุดนี้จำนวน 11 ข้อ หากต้องการเพิ่มจำนวนข้อสอบ คลิก ทำแบบทดสอบออนไลน์
หน้าเว็บนี้มาจากเว็บปลายทาง :
1. การนับเวลาและการแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์มีความสำคัญเพราะเหตุใด
    ทำให้ง่ายต่อการทำความเข้าใจเหตุการณ์ต่างๆ โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกำหนดในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ
    ทำให้รู้จักตนเองมากขึ้น
    ทำให้เกิดความเข้าใจสังคมมากขึ้น
    ทำให้เป็นคนเรียนเก่ง
2. ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) เป็นการนับเวลาทางศักราชของผู้นับถือศาสนาใด
    ซิกซ์
    อิสลาม
    ฮินดู - พราหมณ์
    โซโรอัสเตอร์
3. การนับเวลาแบบคริสต์ศักราชเริ่มนับคริสต์ศักราชที่ 1 เมื่อใด
    เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเยซูประสูติ เป็นคริสต์ศักราชที่ 1
    เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเยซูออกเผยแพร่ธรรมเป็น คริสต์ศักราชที่ 1
    เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเยซูสิ้นพระชนม์เป็นคริสต์ศักราชที่ 1
    เริ่มนับในสมัยสถาปนากรุงโรมเป็นเป็นคริสต์ศักราชที่ 1
4. ปีอธิกสุรทิน หมายถึงปีที่มีลักษณะในข้อใดต่อไปนี้
    ปีที่เดือนกุมภาพันธ์ มี 28 วัน
    ปีที่เดือนกุมภาพันธ์ มี 29 วัน
    ปีที่มี 366 วัน
    ถูกทั้งข้อ 2. และ 3.
5. พุทธศักราช และคริสต์ศักราชแตกต่างกันอยู่กี่ปี
    300 ปี
    400 ปี
    533 ปี
    543 ปี
6. การนับช่วงเวลาแบบฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) เริ่มนับตั้งแต่เหตุการณ์ใดเป็นปีเริ่มต้นฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) ที่ 1
    เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระนบีมูฮัมหมัดประสูติเป็น ฮิจเราะห์ศักราชที่ 1
    เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระนบีมูฮัมหมัดแต่งงานเป็น ฮิจเราะห์ศักราชที่ 1
    เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระนบีมูฮัมหมัดได้อพยพจากเมืองเมกกะไปยังเมืองมาดินาเป็น ฮิจเราะห์ศักราชที่ 1
    เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระนบีมูฮัมหมัดสิ้นพระชนม์เป็น ฮิจเราะห์ศักราชที่ 1
7. การนับเวลาแบบใดที่ประเทศไทยนิยมใช้ในปัจจุบัน
    พุทธศักราช (พ.ศ.)
    จุลศักราช (จ.ศ.)
    รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ)
    คริสต์ศักราช (ค.ศ.)
8. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่การนับเวลาแบบไทย
    พุทธศักราช (พ.ศ.)
    จุลศักราช (จ.ศ.)
    รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ)
    คริสต์ศักราช (ค.ศ.)
9. การนับเวลาแบบพุทธศักราชเริ่มนับพุทธศักราชที่ 1 เมื่อใด
    เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระพุทธเจ้าประสูติ เป็นพุทธศักราชที่ 1
    เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ เป็นพุทธศักราชที่ 1
    เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน เป็นพุทธศักราชที่ 1
    ไม่มีข้อใดกล่าวถูก
10. การระบุช่วงเวลาเพื่อให้ทราบถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นนิยมแบ่งเป็นกี่ลักษณะ
    ลักษณะเดียว
    2 ลักษณะ
    3 ลักษณะ
    4 ลักษณะ
ให้ตรวจสอบชื่อนามสกุลว่ากรอกครบหรือไหม่
พร้อมกับตรวจข้อสอบว่าเลือกทำครบทุกข้อหรือไม่ ไม่ครบไม่ตรวจนะครับ
แนะนำชุดข้อสอบ

1. แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1


2. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กีฬาแบดมินตัน


3. แบบทดสอบวิชาบาสเก็ตบอล


4. ข้อสอบ บรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอก ปฐมวัย พร้อมเฉลย 50 ข้อ


นำแบบทดสอบไปติดที่เว็บของคุณ ครับ

EDUCATION RESEARCH | หน้าแรกข้อสอบ | เข้าระบบ | สมัครสมาชิก | สร้างข้อสอบ | แชร์ข้อสอบ
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย | TOEIC Online | IELTS Online | SAT | TOEIC | IELTS